วันอังคารที่ 6 ธันวาคม พ.ศ. 2559

RECORD AFTER TEACHING  16
DATE  28.11.2015

(เรียนชดเชย)



Knowledge

       
       วันนี้อาจารย์ให้นักศึกษากลุ่มที่ยังไม่ได้นำเสนอการสอน ออกมานำเสนอการสอนที่หน้าฉันเรียน

หน่วย  อากาศ


หน่วย  รถยนต์


หน่วยดอกไม้



kills
      -  ทักษะวิธีการสอนในแต่ละหน่วย
      -  ทักษะการทำงานเป็นทีม
      -  ทักษะการแก้ไขปัญหา
      
Assessment

Myself
        -  ตั้งใจฟังที่เพื่อนๆออกมาสอนหน้าชั้นเรียนและให้ความร่วมมือกับเพื่อนๆเป็นอย่างดีในการออกไปทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆที่กำลังสอนอยู่
Classmate
       -  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและ ตรงต่อเวลา
       -  ให้ความร่วมมือกับเพื่อนๆที่ออกมาสอน
Professor
        -  อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา อธิบายและใช้คำพูดที่นักศึกษาเข้าใจง่าย  เข้าใจนักศึกษา เป็นกันเอง


RECORD AFTER TEACHING  15
DATE  22.11.2015



Knowledge


        

      อาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นกลุ่มตามกลุ่มประดิษฐ์ของเล่นและให้นักศึกษาช่วยกันคิดว่า ของเล่นของแต่ละกลุ่มที่ทำมาสามารถนำมาประยุกตืใช้อะไรได้ในชีวิตประจำวัน

     หลอดมหัศจรรย์  -->  ตุ๊กตาล้มลุก

    และทบทวนขั้นตอนในการนำเสนอ  ดังนี้
1.  สังเกตอุปกรณ์ว่ามีอะไรบ้าง
2.  ถามว่ามีอุปกรณ์อะไรบ้าง
3.  สร้างประเด็นปัญหา
4.  สมมติฐาน
5.  ทดลอง
6.  สรุป


Skills
      -  ทักษะการประยุกต์และการนำไปใช้ให้ตรงกับยุกต์สมัย
      -  ทักษะการทำงานเป็นทีม
      -  ทักษะการแก้ไขปัญหา
      
Assessment

Myself
        -  ตั้งใจเรียนและฟังที่อาจารย์สอน
Classmate
       -  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและ ตรงต่อเวลา
   
Professor
        -  อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา อธิบายและใช้คำพูดที่นักศึกษาเข้าใจง่าย  เข้าใจนักศึกษา เป็นกันเอง

RECORD AFTER TEACHING  14
DATE  15.11.2015

Knowledge


       วันนี้เพื่อนเพื่อนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอการสอนในหน่วยของตนเอง  กลุ่มแรก
1.  หน่วยผลไม้  (ชนิดของผลไม้)
   

2.  หน่วยไข่  (ลักษณะของไข่ )


3.หน่วยต้นไม้  (ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้)


4.หน่วยปลา  (ประโยชน์ของปลา)  ทำ Cooking




Skills
      -  ทักษะวิธีการสอนในแต่ละหน่วย
      -  ทักษะการทำงานเป็นทีม
      -  ทักษะการแก้ไขปัญหา
      
Assessment

Myself
        -  ตั้งใจฟังที่เพื่อนๆออกมาสอนหน้าชั้นเรียนและให้ความร่วมมือกับเพื่อนๆเป็นอย่างดีในการออกไปทำกิจกรรมร่วมกับเพื่อนๆที่กำลังสอนอยู่
Classmate
       -  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและ ตรงต่อเวลา
       -  ให้ความร่วมมือกับเพื่อนๆที่ออกมาสอน
Professor
        -  อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา อธิบายและใช้คำพูดที่นักศึกษาเข้าใจง่าย  เข้าใจนักศึกษา เป็นกันเอง

RECORD AFTER TEACHING  13
DATE  8.11.2015


Knowledge




            วันนี้เริ่มต้นการเรียนการสอนโดยอาจารย์ดูคลิปวิดิโอที่ให้นักศึกษานำไปแก้ไขปรับปรุงเพิ่มเติมมาและให้แต่ละคนนำเสนอแผนการสอนที่ตนเองได้รับมอบหมายในแต่ละหน่วยมาว่ามีแนวการสอนอย่างไร

           ซึ่งดิฉันได้หน่วย ปรัเภาของต้นไม้  โดยมีแนวการสอน ดังนี้
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กอ่านคำคล้องจองประโยชน์ของต้นไม้
2.ครูถามเด็กๆว่าในคำคล้องจองประโยชน์ของต้นไม้ มีประโยชน์อะไรบ้าง (ครูจดบันทึก)
3.ครูถามเด็กๆว่านอกจากประโยชน์ของต้นไม้ในคำคล้องจองแล้ว เด็กๆรู้จักประโยชน์ของต้นไม้อะไรอีกบ้าง (ครูจดบันทึก)
ขั้นสอน
4.ครูแนะนำอุปกรณ์  ดังนี้
-รูปภาพประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเราและพานิช
-ตารางแยกรูปภาพ
-กล่องใส่รูปภาพ
5.ครูอธิบายขั้นตอนในการเล่น โดย
-.ให้เด็กๆช่วยกันนำรูปภาพในตะกร้าที่เด็กๆคิดว่าเป็นรูปภาพประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรามาติดในช่องตารางที่ครูกำหนดไว้จนครบ
-ครูตรวจสอบว่ารูปภาพที่เด็กนำมาติดถูกต้องหรือไม่  แล้วบอกเด็กๆว่ารูปภาพที่เหลือในตะกร้าคือรูปภาพที่ไม่ใช่ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรา แล้วนำมาติดที่ช่องไม่ใช่ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรา หรอเรียกอีกอย่างว่า ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อการพานิช
-ครูและเด็กรูปภาพที่นำมาติดในตารางแต่ละช่องพร้อมเขียนตัวเลขกำกับ
-ครูถามเด็กๆว่ารุปภาพในตารางช่องไหนมีจำนวนมากที่สุด โดยใช้วิธีการนับออกครั้งละชิ้นเท่าๆกันจนหมดหากฝั่งไหนเหลือรูปภาพแสดงว่ามีจำนวนรูปภาพมากกว่า
ขั้นสรุป
-ครูและเด็กๆร่วมกันพูดคุยว่าเด็กๆรู้จักประโยชน์ของต้นไม้ว่ามีประโยชน์ต่อตนเองและต่อการพานิชอะไรบ้าง


     ต่อมาอาจารย์ให้นักศึกษานั่งเป็นกลุ่มตามหน่วยและให้ตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาจับฉลากว่าแต่ละกลุ่มจะได้สอนวันไหน  กลุ่มดิฉันได้วันพุธ  หน่วย ต้นไม้ (ปัจจัยที่มีผลต่อการเจริญเติบโตของต้นไม้)

Skills
      -  ทักษะทางวิทยาศาสตร์ การนำเสนอข้อมูล
      -  ทักษะการทำงานเป็นทีม
      -  ทักษะการแก้ไขปัญหา
      -  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์
      -  ทักษะในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
Assessment

Myself
        -  ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและช่วยเพื่อนในกลุ่มคิดงานตามที่อาจารย์มอบหมาย
Classmate
       -  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและ ตรงต่อเวลา
       -  เสียงดังบ้างเป็นครั้งคราวแต่ก็ตั้ใจเรียน
Professor
        -  อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา ใส่เสื้อผ้าสะอาดและเหมาะสม

RECORD AFTER TEACHING  12
Date  1.11.2015



Knowledge

        วันนี้อาจารย์ขอดูคลิปที่แต่ละกลุ่มไปตัดต่อมา  
-  หลอดมหัศจรรย์
-  รถพลังงานลม




-  คันดีดจากไม้ไอติม
-  ขวดน้ำนักขนของ  




        และอาจารย์ได้เสนอแนะการทำงานที่ดีที่ครบสมบูรณ์อก่นักศึกษาเพื่อที่นักศึกษาจะได้นำไปทำเป็นสื่อการสอนในภานภาคหน้าและให้พัฒนาให้ครบกับพัฒนาการเด็กทั้ง 4 ด้าน  คือ
-  ร่างกาย -->  สุขภาพอนามัย  การเจริญเติบโต  การประสานสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
-  อารมณ์ -->  ชื่นชมผลงานคนอื่น แสดงออกทางความรู้สึก
-  สังคม  -->  การอยู่ร่วมกับผู้อื่น มีความรับผิดชอบ
-  สติปัญญา  -->  การคิิด  ภาษา

      

       ต่อมาอาจารย์แบ่งกลุ่มให้นักศึกษาช่วยกันคิดว่าหน่วยของตัวเองบูรณาการเข้ากับรายวิชาไหนได้บ้าง หาทักษะและกระบวนการวิชาการต่างๆ




แผนการสอน    หน่วยต้นไม้ (ประโยชน์ของต้นไม้)
ขั้นนำ
1.ครูและเด็กอ่านคำคล้องจองประโยชน์ของต้นไม้
2.ครูถามเด็กๆว่าในคำคล้องจองประโยชน์ของต้นไม้ มีประโยชน์อะไรบ้าง (ครูจดบันทึก)
3.ครูถามเด็กๆว่านอกจากประโยชน์ของต้นไม้ในคำคล้องจองแล้ว เด็กๆรู้จักประโยชน์ของต้นไม้อะไรอีกบ้าง (ครูจดบันทึก)
ขั้นสอน
4.ครูแนะนำอุปกรณ์  ดังนี้
-รูปภาพประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเราและพานิช
-ตารางแยกรูปภาพ
-กล่องใส่รูปภาพ
5.ครูอธิบายขั้นตอนในการเล่น โดย
-.ให้เด็กๆช่วยกันนำรูปภาพในตะกร้าที่เด็กๆคิดว่าเป็นรูปภาพประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรามาติดในช่องตารางที่ครูกำหนดไว้จนครบ
-ครูตรวจสอบว่ารูปภาพที่เด็กนำมาติดถูกต้องหรือไม่  แล้วบอกเด็กๆว่ารูปภาพที่เหลือในตะกร้าคือรูปภาพที่ไม่ใช่ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรา แล้วนำมาติดที่ช่องไม่ใช่ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อตัวเรา หรอเรียกอีกอย่างว่า ประโยชน์ของต้นไม้ที่มีต่อการพานิช
-ครูและเด็กรูปภาพที่นำมาติดในตารางแต่ละช่องพร้อมเขียนตัวเลขกำกับ
-ครูถามเด็กๆว่ารุปภาพในตารางช่องไหนมีจำนวนมากที่สุด โดยใช้วิธีการนับออกครั้งละชิ้นเท่าๆกันจนหมดหากฝั่งไหนเหลือรูปภาพแสดงว่ามีจำนวนรูปภาพมากกว่า
ขั้นสรุป
-ครูและเด็กๆร่วมกันพูดคุยว่าเด็กๆรู้จักประโยชน์ของต้นไม้ว่ามีประโยชน์ต่อตนเองและต่อการพานิชอะไรบ้าง


Skills
      -  ทักษะทางวิทยาศาสตร์ การนำเสนอข้อมูล
      -  ทักษะการทำงานเป็นทีม
      -  ทักษะการแก้ไขปัญหา
      -  ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาตร์
      -  ทักษะในการเขียนแผนการจัดประสบการณ์
Assessment

Myself
        -  ตั้งใจฟังที่อาจารย์สอนและช่วยเพื่อนในกลุ่มคิดงานตามที่อาจารย์มอบหมาย
Classmate
       -  เพื่อนๆตั้งใจเรียนและ ตรงต่อเวลา
Professor
        -  อาจารย์มาสอนตรงต่อเวลา และอธิบายได้เข้าใจ มีการสอดแทรกคุณธรรม จริยธรรม การประพฤติการปฏิบัติที่ดีของการเป็นนักศึกษาวิชาชัพครูด้วย


วันอาทิตย์ที่ 30 ตุลาคม พ.ศ. 2559

ARTICLE

เรียนรู้วิทยาศาสตร์ผ่านนิทานของเด็กปฐมวัย “เทคนิคการเลือกและเล่านิทานให้ลูกรัก” 

กิจกรรมที่แสนจะอบอุ่นในชั้นเรียนและในครอบครัว



        พ่อแม่สมัยใหม่ค่อนข้างมีความรู้และให้ความสำคัญในการส่งเสริมการเรียนรู้ให้แก่บุตรหลานตั้งแต่เยาว์วัย   สิ่งสำคัญในการเรียนรู้ระดับปฐมวัยคือการสร้างเจตคติที่ดีในการเรียนรู้ของเด็ก โดยผ่านกระบวนการจัดการเรียนรู้และกิจกรรมต่างๆ  ซึ่งเป็นหนึ่งในภารกิจของ   “โครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีปฐมวัย”  โดย สถาบันส่ง เสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 
               สสวท. ได้จัดอบรมเชิงปฏิบัติการเรื่อง  “การเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และคณิตศาสตร์ผ่านนิทาน”   ในงานเปิดตัวกรอบมาตรฐานและคู่มือการจัดการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ปฐมวัย ของ สสวท.  เมื่อเร็วๆ นี้  ที่โรงแรมแอมบาสซาเดอร์ สุขุมวิท เพื่อเป็นตัวอย่างการจัดการเรียนการสอนให้แก่ครูปฐมวัยที่สนใจ โดยมี ดร. อุไรวาส ปรีดีดิลก ผู้เชี่ยวชาญทางด้านการศึกษาปฐมวัย การส่งเสริมพัฒนาการและการผลิตสื่อสำหรับเด็กปฐมวัยจากคณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย  และอาจารย์พัชรดา  รักยิ่ง ผู้ชำนาญสาขาวิทยาศาสตร์ประถมศึกษา โครงการบูรณาการวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และเทคโนโลยีปฐมวัย สสวท. เป็นวิทยากร
               นอกจากนั้นก็ยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่าง ๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผล เช่น ในนิทานเรื่องลูกหมู 3 ตัว ที่วิทยากรยกตัวอย่างในการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ ได้สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับวิธีการสร้างบ้าน ลำดับ พื้นที่  ทิศทาง ซึ่งคุณครูหรือผู้เล่านิทาน จะต้องมาเลือกดูว่าต้องการให้เด็กเรียนรู้ด้านใด แล้วแต่ว่าจะหยิบจับจุดใดมาเล่า แล้วเด็กก็จะได้ประสบการณ์ตรงนี้

               นอกจากนั้นก็ยังมีความคิดสร้างสรรค์ มีวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์และความรู้ด้านต่าง ๆสอดแทรกผ่านวิธีคิดที่เป็นเหตุผล เช่น ในนิทานเรื่องลูกหมู 3 ตัว ที่วิทยากรยกตัวอย่างในการอบรมเชิงปฏิบัติการครั้งนี้ ได้สอดแทรกเรื่องเกี่ยวกับวิธีการสร้างบ้าน ลำดับ พื้นที่  ทิศทาง ซึ่งคุณครูหรือผู้เล่านิทาน จะต้องมาเลือกดูว่าต้องการให้เด็กเรียนรู้ด้านใด แล้วแต่ว่าจะหยิบจับจุดใดมาเล่า แล้วเด็กก็จะได้ประสบการณ์ตรงนี้
               ดร. อุไรวาส  ปรีดีดิลก แนะนำว่า ถ้าหากเป็นไปได้ ผู้เล่านิทานควรมีการเตรียมตัวล่วงหน้า เพื่อวางแผนการสื่อสารกับเด็กๆ และจะหยิบยกประเด็นใดมาพูด  นิทานบางเล่มที่ไม่มีคำบรรยาย มีแต่ภาพอย่างเดียว ภาพก็จะสื่อให้เข้าใจได้เช่นกัน
               นิทาน..ต้องเล่าก่อนนอน จริงหรือ?                              “การเล่า นิทาน จริงๆ แล้วสามารถเล่าได้ทุกที่ ทุกเวลา ทุกโอกาส เป็นกิจกรรมที่ทุกคนในครอบครัวสามารถมีส่วนร่วมได้” แต่เวลาก่อนนอน อาจเป็นเวลาที่สะดวกต่อการเล่านิทาน หลายครอบครัวจึงมักใช้เวลาก่อนนอนในการเล่านิทานให้บุตรหลานฟัง               เทคนิคการเลือกนิทานให้เด็ก  ควรเลือกให้เหมาะกับวัย เช่น เด็กเล็กเริ่มจากเรื่องราวสิ่งใกล้ตัวที่เขาชอบ เช่น สัตว์ ธรรมชาติ ภาพน่ารักๆ  เลือกสีสัน และเนื้อหาที่ไม่ยาวเกินไป  
               เทคนิคการเล่านิทาน ในการเล่านิทาน จะต้องสร้างอารมณ์ร่วมในขณะที่เล่ามีการใช้โทนเสียงเวลาเล่า ปล่อยให้เด็กได้ใช้ความคิดไปกับผู้เล่าในขณะที่ฟังนิทาน  การใช้เสียงต่างๆ จะทำให้เด็กได้สังเกตอารมณ์ของการใช้เสียง  
               เทคนิคการเลือกนิทานให้เด็ก  ควรเลือกให้เหมาะกับวัย เช่น เด็กเล็กเริ่มจากเรื่องราวสิ่งใกล้ตัวที่เขาชอบ เช่น สัตว์ ธรรมชาติ ภาพน่ารักๆ  เลือกสีสัน และเนื้อหาที่ไม่ยาวเกินไป                 เทคนิคการเล่านิทาน ในการเล่านิทาน จะต้องสร้างอารมณ์ร่วมในขณะที่เล่ามีการใช้โทนเสียงเวลาเล่า ปล่อยให้เด็กได้ใช้ความคิดไปกับผู้เล่าในขณะที่ฟังนิทาน  การใช้เสียงต่างๆ จะทำให้เด็กได้สังเกตอารมณ์ของการใช้เสียง  นอกจากเสียงเล่าแล้ว ยังมีรูปแบบอื่นประกอบ เช่น หุ่นมือ  หุ่นนิ้ว  วาดไปเล่าไป  ถ้ามีการใช้สื่อในบางโอกาสเด็กก็จะชอบ การนำของจริงที่เกี่ยวข้องกับนิทานมาให้เด็กดูประกอบการเล่านิทาน อาจทำให้เด็กอยากเกิดความอยากรู้อยากเห็นในเรื่องที่เล่า ซึ่งจะนำไปสู่การเชื่อมโยงต่อยอดประสบการณ์ภายหลังได้
               นิทานบางเรื่องถึงเด็กจะอ่านไปแล้ว แต่เด็กปฐมวัยอยู่ในวัยที่ชอบฟังซ้ำๆ ซึ่งก็เกิดการเรียนรู้ตามมา  “เด็กคนไหนที่มีโอกาสฟังนิทานเยอะ ก็จะเปิดประสบการณ์ได้เยอะ นิทานเรื่องเดียวเล่าได้ซ้ำๆ และเปิดมุมมองในการเรียนรู้ได้หลายแง่มุม”
               
นอกจากนั้น ข้อควรระวังในการเล่านิทาน ก็คือ “เวลาเล่านิทาน ถ้าเด็กมีความคิดใหม่ๆ หรือคำพูดที่ไม่ตรงกับสิ่งที่พ่อแม่ต้องการหรือคาดหวังก็ไม่ควรปฏิเสธ เพราะจะปิดกั้นความคิด อาจทำให้เด็กขาดความมั่นใจ คือ อย่าเพิ่งไปบอกเด็กว่าไม่ใช่อาจจะเฉยๆ ไปก่อน หรือมีวิธีพูดอย่างอื่น”  ไม่ควรหยุดเล่ากลางคัน เพื่อผละไปทำอย่างอื่นในขณะที่เด็กมีความสนใจในเรื่องที่เล่าจะทำให้ความใฝ่รู้ของเด็กตรงนั้นสะดุด
              

 
               .....นิทานเรื่องเดียวที่เล่าไปก็จะไม่จบไปในแค่นั้น... แต่จะจุดประกายต่อยอดไปสู่การพัฒนาความคิดและทักษะอื่นๆ อีกมากมายได้

               .....นิทานเรื่องเดียวที่เล่าไปก็จะไม่จบไปในแค่นั้น... แต่จะจุดประกายต่อยอดไปสู่การพัฒนาความคิดและทักษะอื่นๆ อีกมากมายได้






RESEARCH CONCLUDE



ชื่องานวิจัย : ผลการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนที่มีต่อทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัย

ชื่อวิจัย : ศรีนวล รัตนานันท์

ความมุ่งหมายของการศึกษาค้นคว้า 
1.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนก่อนและหลังการทดลอง
2.เพื่อเปรีบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติก่อนและหลังการทดลอง
3.เพื่อเปรียบเทียบทักษะการสังเกตของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียนกับเด็กปฐมวัยที่ได้รับการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ

ความสำคัญของการศึกษาค้นคว้า 
          การศึกษาครั้งนี้เป็นแนวทางในการพัฒนารุปแบบการจัดประสบการณ์วิทยาศาสตร์เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกต อันเป็นพื้นฐานสำหรับเด้กปฐมวัยให้แก่ครูและผู้เกี่ยวข้อง  นอกจากนี้ยังเป็นแนวทางของครูในการพัฒนาการจัดประสบการณ์สำหรับเด้กปฐมวัยให้เป็นไปตามจุดประสงค์ของการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ

ขอบเขตการศึกษาค้นคว้า
1.ประชากร : ประชากรที่ใช้ในการศึกษาเป็นเด็กปฐมวัยชาย - หญิงอายุระหว่าง 5 - 6 ปีกำลังศึกษาอยู่ชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสุพรรณบุรี
2.กลุ่มตัวอย่าง : กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษา เป้นเด็กปฐมวัยชาย-หญิงอายุระหว่าง 5-6 ปี กำลังศึกษาอยู่ในชั้นอนุบาลปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 โรงเรียนวัดวังกุ่ม  อำเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งได้มาโดยการสุ่มอย่างง่าย จำนวน 30 คน แล้วจับสลากแบ่งเป็นกลุ่มทดลองและควบคุม กลุ่มละ 15 คน
3.ระยะเวลาที่ใช้ในการทดลอง การทดลองครั้งนี้กระทำระหว่างภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2539 ใช้เวลาในการทดลอง 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ครั้ง ครั้งละ 20 นาที
4.ตัวแปรศึกษา
4.1 ตัวแปอิสระ คือ รูปแบบการจัดประสบการณ์เน้นวิทยาศาสตร์ ได้แก่
- การจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน
- การจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ
ตัวแปรตาม คือ ทักษะการสังเกตในด้านคุณลักษณะ การกะประมาณและการเปลี่ยนแปลง

นิยามศัพท์เฉพาะ
1.การจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาตร์

2.ทักษะการสังเกต

3.เด็กปฐมวัย


เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาค้นคว้า

1.แผนการจัดประสบการณ์ดังนี้

-แผนการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์นอกชั้นเรียน

-แผนการจัดประสบการณ์หน่วยเน้นวิทยาศาสตร์แบบปกติ

2.แบบประเมินทักษะการสังเกต

ตัวอย่างแผนการสอน
"หน่วยวิทยาศาสตร์น่ารู้"



ประกอบด้วย 3 กิจกรรม คือ 
1.แว่นขยายเห็นชัดเจน
2.แสงเป็นอย่างไร
3.เสียงในธรรมชาติ


ครั้งที่ 1 กิจกรรม แว่นขยายเห็นชัดแจ้ง

จุดประสงค์ : เพื่อพัฒนาทักษะการสังเกตในด้าน

-ลักษณะของแว่นขยายกับการส่องวัตถุ

-การกะประมาณขนาดของวัตถุ

สถานที่ : บริเวณพื้นที่รอบอาคารเรียน


อุปกรณ์ 

 1.แว่นขยายสำหรับเด็ก 3 คนต่อ 1 อัน

2.กระดาษสำหรับบันทึกภาพ

3.ดินสอสี

วิธีทำกิจกรรม

1.ครูแนะนำกิจกรรมโดยกล่าว่า "ครูจะพาเด็กๆออกไปสำรวจธรรมชาติรอบๆอาคารเรียนและให้เด็กๆใช้แว่นขยายส่องดูสิ่งที่น่าสนใจ"

2.เด็กปฏิบัติการโดยใช้ประสาทสัมผัส
  2.1 สำรวจบริเวณที่สนใจใช้แว่นขยายส่องดูรายละเอียดของสิ่งของต่างๆ ที่พบ
  2.2 ใช้แว่นขยายส่องดูหิน ก้อนหิน ใบไม้ แมลงและอื่นๆเพื่อดูลักษณะ  รูปร่าง ส่วนประกอบ ให้ชัดเจนยิ่งขึ้น
 
2.3 สังเกตขนาดของจริงที่มองเห้นด้วยตาเปล่าและการใช้แว่นขยายส่องโดยการวาดภาพเปรียบเทียบ


3.ขณะที่เด็กทำกิจกรรม  ครูใช้คำถามประกอบด้วยการสังเกต ดังนี้

-เด็กๆใช้แว่นขยายส่องดูอะไรบ้าง

-แว่นขยายทำให้เด็กมองเห็นวัตถุของจริงเป็นอย่างไร

-ขนาดของวัตถุของจริงที่มองเห็นตาเปล่าและมองโดยการใช้แว่นขยายส่อง มีขนาดเป้นอย่างไร

 4.สรุป

หลังปฏิบัติกิจกรรมเสร็จแล้ว เด็กและครูร่วมกันสนทนาถึงผลการสังเกตจากกิจกรรม